วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2555

การเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็ก ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดตรัง ได้พัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กได้ สำเร็จ โดยเน้นการเพาะพันธุ์วิธีเลียนแบบธรรมชาติ และสามารถอนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็กโดยการ ใช้อาหารธรรมชาติมีชีวิตและอาหารสำเร็จรูปได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมีวิธีการดำเนินการ ดังนี้ ได้พัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กได้ สำเร็จ โดยเน้นการเพาะพันธุ์วิธีเลียนแบบธรรมชาติ และสามารถอนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็กโดยการ ใช้อาหารธรรมชาติมีชีวิตและอาหารสำเร็จรูปได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมีวิธีการดำเนินการ ดังนี้
1. การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ พ่อแม่พันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กที่ดีควรมีลักษณะ การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ พ่อแม่พันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กที่ดีควรมีลักษณะ
1.1 ควรเป็นปลาวัยเจริญพันธุ์ เพศผู้ รูปร่างปราดเปรียว บริเวณสามเหลี่ยมตรงกลางลำตัว มีสีเข้มเด่นชัดคล้ายด้ามขวาน เพเมียลำตัวสั้นป้อม มีท้องอูมเป่ง ควรเป็นปลาวัยเจริญพันธุ์ เพศผู้ รูปร่างปราดเปรียว
บริเวณสามเหลี่ยมตรงกลางลำตัว มีสีเข้มเด่นชัดคล้ายด้ามขวาน เพเมียลำตัวสั้นป้อม มีท้องอูมเป่ง
1.2 พ่อแม่พันธุ์ควรมีน้ำหนักอยู่ในช่วง 0.30-0.60 กรัม พ่อแม่พันธุ์ควรมีน้ำหนักอยู่ในช่วง 0.30-0.60 กรัม
1.3 ตามลำตัวไม่ควรมีบาดแผล เพราะจะทำให้เกิดการติดเชื้อและลุกลามถึงตายในที่สุด ตามลำตัวไม่ควรมีบาดแผล เพราะจะทำให้เกิดการติดเชื้อและลุกลามถึงตายในที่สุด
2. การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ ลูกปลาซิวข้างขวานเล็กสามารถแยกเพศได้เมื่ออายุ 3-4 เดือน การ เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ เลี้ยงแยกเพศคนละบ่อเพื่อป้องกันปลาผสมพันธุ์กันเองภายในบ่อ เลี้ยงในตู้กระจกหรือ บ่อซีเมนต์ ใช้ระบบน้ำหมุนเวียน บ่อพ่อแม่พันธุ์จะใส่พรรณไม้น้ำและรากไม้เพื่อให้เหมือนสภาพตาม ธรรมชาติที่ปลาอาศัยอยู่ ให้ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปปลาสวยงาม เป็นอาหาร วันละ 2 ครั้ง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ ลูกปลาซิวข้างขวานเล็กสามารถแยกเพศได้เมื่ออายุ 3-4 เดือน การ เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ เลี้ยงแยกเพศคนละบ่อเพื่อป้องกันปลาผสมพันธุ์กันเองภายในบ่อ เลี้ยงในตู้กระจกหรือ บ่อซีเมนต์ ใช้ระบบน้ำหมุนเวียน บ่อพ่อแม่พันธุ์จะใส่พรรณไม้น้ำและรากไม้เพื่อให้เหมือนสภาพตาม ธรรมชาติที่ปลาอาศัยอยู่ ให้ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปปลาสวยงาม เป็นอาหาร วันละ 2 ครั้ง
3. การเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 วิธี การเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 วิธี
1. การเพาะพันธุ์ในตู้กระจก ใช้ตู้กระจก ขนาด 45x90x45 เซนติเมตร ระดับน้ำลึก 35 เซนติเมตร ใช้ระบบน้ำหมุนเวียน โดยจัดวัสดุให้เหมือนสภาพธรรมชาติ ใส่หินเกร็ดล้างน้ำให้สะอาดแล้ว ปลูกพรรณไม้น้ำในตู้ให้มีจำนวนเหมาะสม ใส่พ่อแม่พันธุ์อัตราส่วน 1:1 ตัวผู้ 3 ตัว ตัวเมีย 3 ตัว ให้ไรแดง เป็นอาหาร วันละ 2 ครั้ง โดยปลาจะวางไข่ติดพรรณไม้น้ำหรือตามหินเกร็ด หลังจากนั้นทำการนำพ่อแม่ พันธุ์ออก เพื่อป้องกัน พ่อแม่พันธุ์กินไข่หรือลูกตัวอ่อน ปกติการผสมพันธุ์จะมีขึ้นในช่วงเช้าประมาณ 08.00 – 12.00น. ของทุกวัน ไข่จะหลุดออกจากรังไข่ ประมาณ 2-10 ฟอง แม่พันธุ์ตัวหนึ่งจะวางไข่ 15-20 ครั้ง การเพาะพันธุ์ในตู้กระจก ใช้ตู้กระจก ขนาด 45x90x45 เซนติเมตร ระดับน้ำลึก 35 เซนติเมตร ใช้ระบบน้ำหมุนเวียน โดยจัดวัสดุให้เหมือนสภาพธรรมชาติ ใส่หินเกร็ดล้างน้ำให้สะอาดแล้ว ปลูกพรรณไม้น้ำในตู้ให้มีจำนวนเหมาะสม ใส่พ่อแม่พันธุ์อัตราส่วน 1:1 ตัวผู้ 3 ตัว ตัวเมีย 3 ตัว ให้ไรแดง เป็นอาหาร วันละ 2 ครั้ง โดยปลาจะวางไข่ติดพรรณไม้น้ำหรือตามหินเกร็ด หลังจากนั้นทำการนำพ่อแม่ พันธุ์ออก เพื่อป้องกัน พ่อแม่พันธุ์กินไข่หรือลูกตัวอ่อน ปกติการผสมพันธุ์จะมีขึ้นในช่วงเช้าประมาณ 08.00 – 12.00น. ของทุกวัน ไข่จะหลุดออกจากรังไข่ ประมาณ 2-10 ฟอง แม่พันธุ์ตัวหนึ่งจะวางไข่ 15-20 ครั้ง
2. การเพาะพันธุ์ในบ่อซีเมนต์ ใช้บ่อซีเมนต์ขนาด 1x2x1 ตารางเมตร ระดับน้ำลึก 50 เซนติเมตร ใส่พ่อแม่พันธุ์อัตราส่วน 1:1 ตัวผู้ 10 ตัว ตัวเมีย 10 ตัว การเพาะพันธุ์ในบ่อซีเมนต์ ใช้บ่อซีเมนต์ขนาด 1x2x1 ตารางเมตร ระดับน้ำลึก 50 เซนติเมตร ใส่พ่อแม่พันธุ์อัตราส่วน 1:1 ตัวผู้ 10 ตัว ตัวเมีย 10 ตัว
3. ความดกของไข่ ปลาซิวข้างขวานเล็กเป็นปลาที่มีรังไข่แบบ 2 พู ปลาซิวข้างขวานเล็กที่มี ขนาดความยาว 2.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 0.34 กรัม มีน้ำหนักรังไข่ 0.71 กรัม และมีจำนวนไข่ประมาณ 594 ฟอง และปลาที่มีความยาว 3.4.เซนติเมตร น้ำหนัก 0.52 กรัม มีน้ำหนักรังไข่ 0.93 กรัม คิดเป็นไข่ ประมาณ 685 ฟอง
การอนุบาลปลาซิวข้างขวานเล็ก
การอนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็ก หลังจากถุงไข่แดงยุบ มี 2 รูปแบบ 2 รูปแบบ
1) การอนุบาลในตู้กระจก การอนุบาลในตู้กระจก
2) การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก
1. การอนุบาลในตู้กระจก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตู้ ให้ลูกปลากินโรติเฟอร์ 3 วัน หลังจาก นั้นให้กินอาร์ทีเมีย 7-10 วัน แล้วให้กินไรแดงตลอด เลี้ยงเป็นระยะเวลา 1 เดือน จะได้ลูกปลาขนาด 1.5 เซนติเมตร การอนุบาลในตู้กระจก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตู้ ให้ลูกปลากินโรติเฟอร์ 3 วัน หลังจาก นั้นให้กินอาร์ทีเมีย 7-10 วัน แล้วให้กินไรแดงตลอด เลี้ยงเป็นระยะเวลา 1 เดือน จะได้ลูกปลาขนาด 1.5 เซนติเมตร
2. การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 1,000 ตัวต่อบ่อ การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 1,000 ตัวต่อบ่อ
การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก
การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก เมื่ออนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็กจนได้ขนาด 1.5 เซนติเมตร ก็ดำเนินการเลี้ยงต่อจนได้ขนาด 2.5-3.0 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ตลาดต้องการ การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 รูปแบบ 1.5 เซนติเมตร ก็ดำเนินการเลี้ยงต่อจนได้ขนาด 2.5-3.0 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ตลาดต้องการ การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 รูปแบบ 1.) การเลี้ยงในตู้กระจก อัตราปล่อย 200 ตัวต่อตารางเมตร ให้ไรแดง หรืออาหารผงสำเร็จรูปเป็น อาหาร การเลี้ยงในตู้กระจก อัตราปล่อย 200 ตัวต่อตารางเมตร ให้ไรแดง หรืออาหารผงสำเร็จรูปเป็น อาหาร
2.) การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตารางเมตร การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตารางเมตร
โรคและการป้องกันโรค
1.โรคแผลตามลำตัว
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการ เกล็ดจะพองและตกเลือดสีแดงตามลำตัว
การป้องกัน ใช้ยาต้านจุลชีพ ชนิดซัลฟาไตรเมทโทรพริม ในอัตราส่วน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร
แช่ปลานาน 2-3 วัน โรคแผลตามลำตัว
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการ เกล็ดจะพองและตกเลือดสีแดงตามลำตัว
การป้องกัน ใช้ยาต้านจุลชีพ ชนิดซัลฟาไตรเมทโทรพริม ในอัตราส่วน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร
แช่ปลานาน 2-3 วัน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร
แช่ปลานาน 2-3 วัน 2-3 วัน
2.โรคครีบกร่อน หางกร่อน
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการ ตามโคนหางจะเป็นแผล แล้วค่อยๆลามเข้าไป จนทำให้ครีบมีขนาดเล็กลงบางครั้งครีบกร่อนไป จนหมด
การป้องกัน ใช้ยาต้านจุลชีพ ชนิดซัลฟาไตรเมทโทรพริม ในอัตราส่วน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร
แช่ปลานาน 2-3 วัน โรคครีบกร่อน หางกร่อน
สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการ ตามโคนหางจะเป็นแผล แล้วค่อยๆลามเข้าไป จนทำให้ครีบมีขนาดเล็กลงบางครั้งครีบกร่อนไป จนหมด
การป้องกัน ใช้ยาต้านจุลชีพ ชนิดซัลฟาไตรเมทโทรพริม ในอัตราส่วน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร
แช่ปลานาน 2-3 วัน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร
แช่ปลานาน 2-3 วัน 2-3 วัน
ปลาซิวในบ่อพลาสติก รายได้ดี
ขั้นตอนการเลี้ยงปลาซิว
1.เตรียมบ่อเลี้ยงขนาดบ่อ 2x4 เมตร ลึก 1 เมตร (เป็นบ่อปูนหรือบ่อพลาสติกก็ได้)
2.หลังจากเตรียมบ่อแล้วให้ทำการเปิด น้ำเข้าบ่อสูง 80 เซนติเมตร และนำท่อนกล้วยลงแช่ในบ่อเพื่อดูดซับกลิ่นปูนแลกลิ่นเคมีจากพลาสติก แช่นาน 1 สัปดาห์
3.นำปลาซิวลงบ่อเลี้ยงประมาณ 10 กิโลกรัม
4.อาหารให้รำอ่อน วันละ 1 ครั้ง
5.ระบบการถ่ายน้ำให้ทำการถ่ายน้ำโดย การเปิดก๊อกน้ำใส่บ่อและทำตัวจุกระบายน้ำออกจากบ่อที่ก้นบ่อด้วย และนำมุ้งเขียวกันไว้ไม่ให้ปลาหลุดออกจากบ่อตามท่อระบายน้ำ(ให้ทำการถ่ายน้ำปีละ 1 ครั้ง)
6.ปรับปรุงสภาพน้ำโดยใส่น้ำหมักฮอร์โมนแม่ ½ ลิตร ต่อ เดือน
7.อาหารเสริมสามารถนำปลวกมาสับให้ละเอียดเพื่อนำไปเป็นอาหารเสริมเพิ่มโปรตีนให้ปลาซิวได้ เลี้ยงไว้ 2-3 เดือนสามารถจับขายหรือกินได้ การจำหน่ายราคากิโลกรัมละ 100 บาท
การเตรียมบ่อปลาซิว
บ่อปลาซิว
ตาข่ายกันปลาหนี
สำรวจบ่อปลา

ปลาซิวในบ่อ


การจับปลาซิว
การคัดแยกเมื่อจับปลาแล้ว

แหล่งที่มา : รักบ้านเกิดดอทคอม
ภาพประกอบ : อินเตอร์เน็ต/ Poonita farm


วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2555

สวัสดีค่ะเพื่อนๆ บล็อก นานาสาระเกษตรทุกท่าน วันนี้เราจะนำเอาการเลี้ยงปลาน้ำจีดที่หาได้ตามห้วย หนอง คลอง บึง แหล่งน้ำธรรมชาติของบ้านเรามาฝากค่ะ เราสามารถนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นปลาเศรษฐกิจได้เลยทีเดียวถึงแม้จะไม่ค่อยเป็นที่นิยมกันสักเท่าไหร่ แต่ถ้าเรามองหาเพื่อที่จะเป็นอาชีพเสริมก็เป็นที่น่าสนใจมากเลยทีเดียวค่ะเพราะเลี้ยงง่าย และเป็นปลาที่อดทนพอสมควรค่ะ
ลักษณะทั่วไปของปลากระดี่นาง ปลากระดี่นางเป็นปลาน้ำจืดซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกับปลาสลิด กระดี่หม้อ กระดี่มุก และอยู่ในวงศ์เดียวกับปลาหมอไทย กระดี่นางมีสีขาวนวล ไม่มีจุดดำ ลำตัวบาง เกล็ดบาง เกล็ดเล็กละเอียด ขอบเกล็ดเป็นจักรเช่นเดียวกับเกล็ดปลาหมอ มีเส้นก้านครีบเป็นรยางค์ยาวอยู่ใต้ท้อง 1 คู่ ความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ปลากระดี่นางมีอวัยวะช่วยหายใจพิเศษ เช่นเดียวกัน ในสภาพที่น้ำไม่ดีนัก กระดี่นางก็จะโผล่ริมฝีปากขึ้นมาฮุบเอาอากาศหายใจได้ อาหารเป็นพวกสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น ตัวอ่อนของแมลง ไรแดง ปลาเพศผู้มีสีแสดบริเวณท้อง กล่าวกันว่า ปลากระดี่ใช้รยางค์คู่นี้เป็นเครื่องรับความรู้สึก มีนิสัยสงบ เลี้ยงรวมกับปลาอื่นได้ดี แต่ในฤดูผสมพันธุ์ปลาตัวผู้มีนิสัยกีดกันปลาอื่น ปลากระดี่ขนาดลำตัวโตกว่ากระดี่หม้อเล็กน้อย ชาวต่างประเทศเรียกว่า "มูนบีน หรือมูนไลท์" ซึ่งตรงกับคำว่าปลากระดี่แสงจันทร์

การแพร่กระจาย
แหล่งน้ำที่ปลากระดี่อาศัย
ปลากระดี่นางมีอยู่ทั่วไปตามแหล่งน้ำ และมีถิ่นที่อยู่อาศัย เช่นเดียวกับปลากระดี่หม้อ คือ พบตามแหล่งน้ำหนองบึง ลำห้วย ซึ่งมีพืชพันธุ์ไม้น้ำหนาแน่น ในทุกภาคของประเทศ ต่างประเทศ มีในแถบอินโดจีน
การเพาะพันธุ์ปลากระดี่นาง
ในฤดูผสมพันธุ์ ปลากระดี่นางเพศผู้นอกจากสังเกตจากครีบหลังเช่นกระดี่หม้อแล้ว ขอบครีบก้นของปลาตัวผู้ขึ้นสีเป็นสีส้ม การเพาะพันธุ์ปลากระดี่นาง สามารถทำการเพาะโดยวิธีการเลียนแบบธรรมชาติ หรือ การเพาะแบบวิธีกึ่งธรรมชาติ  การเพาะโดยวิธีการเลียนแบบธรรมชาติโดยการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่มีความพร้อม โดยปลา
เพศเมีย ควรมีช่วงท้องขยายใหญ่ขึ้น และนิ่ม ในเพศผู้สังเกตสีของขอบครีบก้นของปลาตัวผู้จะขึ้นสีเป็นสีส้ม  นำมาปล่อยในบ่อเพาะไว้รวมกันใส่พรรณไม้น้ำประมาณ 1 ใน 4 บ่อ ทำการถ่ายน้ำทุก 2-3 วัน หลังจากนั้นประมาณ 7 วัน ตัวผู้เริ่มก่อหวด ส่วนการเพาะด้วยวิธีกึ่งธรรมชาติ โดยการฉีดฮอร์โมนให้กับแม่ และปล่อยให้ผสมพันธุ์กันเองแบบธรรมชาติ อัตราความเข้มข้นของฮอร์โมนสังเคราะห์ที่ใช้ในการฉีดครั้งที่ 1 ฉีดแม่ในความเข้มข้น 10 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ร่วมกับยาเสริมฤทธิ์ domperidone
10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทิ้งระยะห่าง 6 ชั่วโมง ทำการฉีดฮอร์โมนในครั้งที่ 2 ในอัตราความเข้มข้น 20 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ร่วมกับยาเสริมฤทธิ์ domperidone 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แล้วปล่อยพ่อแม่พันธุ์ลงบ่อเพาะ ที่มีพรรณไม้น้ำอยู่ด้วย พบว่าแม่ปลาสามารถวางไข่ได้ หลังจากการฉีดครั้งที่ 2 ประมาณ 45-50 ชั่วโมง ไข่ปลาใช้เวลาในการฟักประมาณ 18 ชั่วโมง ซึ่งการอนุบาลลูกปลาวัยอ่อนควรใช้โรติเฟอร์ และไข่แดงต้มสุกบดละเอียดให้กินเป็นอาหาร
หวอดปลากระดี่นาง1
หวอดปลากระดี่นาง2
การจับปลากระดี่
ปลากระดี่และปลาอื่นๆ

การดักปลาในนารวมทั้งปลากระดี่ด้วย
ดักปลาในนาข้าว
จับปลาในแหล่งน้ำธรรมชาติ
ปลากระดี่หม้อ ตระกูลปลากระดี่
นำปลากระดี่มาถนอมอาหารเก็บไว้ให้ได้นาน ปลากระดี่แดดเดียว
ปลาร้าปลากระดี่ที่ตลาด
ดูกันชัดๆ
ตัดหัวปลาทำแกงก็ได้ หรือจะทำอย่างอื่นที่เราชอบ
ปลากระดี่ทอดกรอบน่ากินมากๆ
แหล่งที่มา : ภาพจากโอเคเนชั่น/อื่นๆ
ข้อมูลจาก :http://jawnoyfishing.blogspot.com

Follow on FaceBook

ฟอร์มรายชื่อติดต่อ

ชื่อ

อีเมล *

ข้อความ *

Popular Posts